วันพุธที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2554


Freedom of Expression is Further Constrained in Thailand; Threats Against Thai Historian Intensify


Freedom of Expression is Further Constrained in Thailand; Threats Against Thai Historian Intensify

The latest signal of the worsening atmosphere of freedom of expression in Thailand is the summoning of Dr. Somsak Jeamteerasakul to the police station to hear charges filed against him by the Army.
Several weeks ago, Dr. Somsak Jeamteerasakul, an associate professor in the Faculty of Liberal Arts at Thammasat University, was harassed and intimidated by unknown figures who accused him of lèse majesté. On 7 April 2011, General Prayuth Chan-ocha, the commander of the army, directly criticized and derided Dr. Somsak Jeamteerasakul in a public address, describing him as "a mentally ill academic" who "is intent on overthrowing the institution" of the monarchy. Given the current polarized climate in Thailand, these statements from the head of the army are not only inappropriate but also constitute a significant threat. In addition, at that time, unknown persons came on motorcycles to harass Dr. Somsak near his house.
At that time, scholars residing in Australia, the U.S., the UK, Hong Kong, Denmark, Singapore, South Korea and Canada signed and released an open letter calling for an end to the constriction of freedom of expression in Thailand.
Dr. Kevin Hewison, Director of the Carolina Asia Center at the University of North Carolina at Chapel Hill comments, “The accusation against Dr. Somsak challenges the Prime Minister. He has said that academic criticism is tolerated. How can he justify action against this well-known academic? “
On 8 May 2011, Dr. Somsak received a summons to appear at Nang Loeng police station in Bangkok at 10 a.m. on Wednesday, 11 May 2011. The Thai Army has officially filed a complaint against him and he will go to hear the charges.
“Why is the Army filing charges against a historian?," asks Dr. Craig Reynolds of the Australian National University. "While this is not the first time that the Army has filed charges against a civilian, every instance should be carefully scrutinized.”
In the intervening weeks since the open letter was first released, many additional scholars have signed the letter, bringing the total number to 51 signatories. In addition, there have been several other instances of constriction of freedom of expression, including the widespread, coordinated raiding of community radio stations and the arrest of Mr. Somyos Prueksakasemsuk on charges of violating Article 112. The letter with the updated list of names is being released today in order to signal our concern over the official summoning of Dr. Somsak Jeamteerasakul and the broader crisis of which this is one part.
“I am concerned that in this current political climate both legal cases and extralegal intimidation and threats will proliferate to constrict speech and silence dissent in Thailand. This will have an increasingly negative effect on the possibilities for human rights and democracy in Thailand,” notes Dr. Tyrell Haberkorn of the Australian National University.
Updated list of signatories to the open letter
Dr. Michael K. Connors, La Trobe University
Dr. Nancy Eberhardt, Knox College
Dr. Nicholas Farrelly, Australian National University
Dr. Arnika Fuhrmann, Hong Kong University
Dr. Jim Glassman, University of British Columbia
Dr. Tyrell Haberkorn, Australian National University
Dr. Kevin Hewison, University of North Carolina-Chapel Hill
Dr. CJ Hinke, Freedom Against Censorship Thailand
Dr. Soren Ivarsson, University of Copenhagen
Dr. Andrew Johnson, Sogang University
Dr. Tomas Larsson, Cambridge University
Dr. Charles Keyes, University of Washington
Mr. Samson Lim, Cornell University
Dr. Tamara Loos, Cornell University
Dr. Mary Beth Mills, Colby College
Ms. Nattakant Akarapongpisak, Australian National University
Dr. Craig Reynolds, Australian National University
Mr. Andrew Spooner, Nottingham Trent University
Dr. David Streckfuss, Council on International Educational Exchange
Mr. Sing Suwannakij, University of Copenhagen
Dr. Michelle Tan, Independent Scholar, USA
Mr. Benjamin Tausig, New York University
Mr. Giles Ji Ungpakorn, Independent Scholar, UK
Dr. Andrew Walker, Australian National University
Dr. Thongchai Winichakul, University of Wisconsin-Madison
Mr. Kritdikorn Wongswangpanich, Aberystwyth University
Dr. Adadol Ingawanij, University of Westminster
Dr. Rachel V. Harrison, University of London
Dr. Pavin Chachavalpongpun, Institute for Southeast Asian Studies
Dr. Pongphisoot Busbarat, Australian National University
Mr.Watcharabon Buddharksa, University of York
Dr. Robert Albritton, University of Mississippi
Mr.Poowin Bunyavejchewin, University of Hull
Dr. Jane Ferguson, Australian National University
Dr. Napisa Waitoolkiat, Payap University
Dr. Maurizio Peleggi, National University of Singapore
Mr. Preedee Hongsaton, Australian National University
Dr. Federico Ferrara, City University of Hong Kong
Dr. Thomas Hoy, Thammasat University-Rangsit
Mr. Serhat Uenaldi, Humboldt-University of Berlin
Dr. Ruediger Korff, University of Passau
Dr. Sascha Helbardt, University of Passau
Dr. Charnvit Kasetsiri, Institute for Southeast Asian Studies
Mr. Claudio Sopranzetti, Harvard University
Dr. Jim Taylor, University of Adelaide
Dr. Andrew Brown, University of New England
Dr. Grant Evans, University of Hong Kong
Dr. John Langer, Victoria University (Melbourne)
Dr. Katherine Bowie, University of Wisconsin-Madisn
Dr. Sarah Van Fleet, Univeristy of Washington
Mr. Ithi Sophonpanich, University of Hawaii at Manoa
http://redusala.blogspot.com

Chiranuch receives IWMF's 2011 Courage in Journalism Award


Chiranuch receives IWMF's 2011 Courage in Journalism Award


Three brave women journalists who have risked their lives covering the news have been named the International Women’s Media Foundation’s 2011Courage in Journalism Award winners.
Withstanding danger, threats and political pressure, Adela Navarro Bello of Mexico, Parisa Hafezi of Iran and Chiranuch Premchaiporn of Thailand have shown extraordinary dedication covering violence, corruption and social unrest in their countries.
“We are proud to recognize these brave women, who endure the most incredible trials to shed light on the events vital to the nations in which they live,” said IWMF Executive Director Liza Gross. “They exemplify the crucial role of the press in society."
The 2011 Courage in Journalism Award winners -- who will be officially honored in Los Angeles and New York in October – are:
Adela Navarro Bello, Courage in Journalism Award

Adela Navarro Bello, general director and columnist for Zeta news magazine in Mexico, who reports on the escalating violence and corruption in the border city of Tijuana. Navarro Bello, 42, has refused to remain silent, despite repeated warnings that she is being targeted by drug cartels.
Parisa Hafezi, Courage in Journalism Award

Parisa Hafezi, bureau chief for Reuters in Iran, has been beaten, harassed and detained while covering public opposition to the government. Hafezi, 41, is under constant surveillance. Government officials have raided her home and office and threatened her.
Chiranuch Premchaiporn, Courage in Journalism Award

Chiranuch Premchaiporn, director and webmaster of Prachatai online newspaper in Thailand. Premchaiporn, 43, faces up to 70 years in prison for anti-government comments posted on her website. She has been repeatedly arrested, her offices have been raided and her website has been blocked multiple times by the Thai government.
Kate Adie, Lifetime Achievement Award

Kate Adie, a veteran broadcast journalist, has been presented with the IWMF’s Lifetime Achievement Award. Adie, a presenter on BBC Radio 4’s “From Our Own Correspondent,” has covered the world for more than 40 years, reporting breaking news from Tiananmen Square and Lockerbie to Sierra Leone and Belgrade. Adie, 65, was the BBC’s first chief news correspondent and has paved the way for future generations of journalists.
"We at the IWMF are thrilled to honor these extraordinary journalists who have risked everything to tell the important stories of their time and place,” said Judy Woodruff of the PBS NewsHour, IWMF Courage in Journalism Awards chair. “We are also pleased to honor Kate Adie for her remarkable career at the forefront of her craft."
The Courage in Journalism Awards honor women journalists who have shown extraordinary strength of character and integrity while reporting under dangerous circumstances. The Lifetime Achievement Award recognizes a woman journalist who has a pioneering spirit and whose determination has forged inroads for women in the news media. Including this year’s honorees, 72 journalists have won Courage Awards and 20 journalists have been honored with Lifetime Achievement Awards. The awards will be presented at ceremonies in Los Angeles on Oct. 24 and in New York on Oct. 27.
http://redusala.blogspot.com

Thai history professor faces lèse majesté complaint

Thai history professor faces lèse majesté complaint


A Thai history professor who is outspoken on issues concerning the monarchy now faces a complaint of lèse majesté filed by the Royal Thai Army, the independent news website Prachatai.com reported.
Prachatai.com said Dr. Somsak Jeamteerasakul, a prominent historian from Thammasat University, is scheduled to hear the details of the charge at Nang Lerg Police Station in Bangkok on 11 May 2011.
On 24 April 2011, the 53-year-old academic called for a press conference at Thammasat University to talk about the harassment he had been subjected to, in the form of threatening phone calls and suspicious-looking men who were allegedly shadowing him. The press conference was attended by about 500 people from the academe, media, netizens and supporters.
Cases of lèse majesté have spiked lately. According to "Bangkok Post" columnist Achara Ashayagachat, more than 160 cases of lèse majesté have been filed by 2009, as compared to only three in the 1980s.
Somsak, who had been a student activist during the bloody uprising in 1976, has been widely criticized by the military and the royalist group, Yellow Shirts, for his statements about the monarchy.
Lèse majesté is a criminal offense in Thailand. Article 112 of the Thai Penal Code allows anyone to file a complaint with the police against anyone he or she deems to have defamed the monarch and members of the royal family. Police investigation into the matter could take years. If formally charged, tried, and found guilty of lèse majesté, offenders can be meted prison terms of up to 15 years.
Somsak is the latest individual to face the lèse majesté charge in anticipation of national elections expected in July this year.
On 30 April, "Red Power" magazine editor Somyot Prueksakasemsuk was arrested under the lèse majesté law allegedly for an article he had written for the now-banned magazine "Voice of Thaksin". Agents of the Department of Special Investigation apprehended him at the Thailand-Cambodia immigration checkpoint. Prachatai.com reported that Somyot was denied bail.
In February, Surachai Danwattananusorn, a core leader of Red Siam (a splinter of the Red Shirts) was arrested for allegedly insulting the monarchy in a speech made in December last year.
In the midst of the fresh arrests and complaints, the Crime Suppression Division summoned Thanapol Eawsakul, editor of "Fah Diew Kan" ("Same Sky") magazine on 27 April 2011 to give evidence in cases in which the "Fah Diew Kan" web board (now closed) was accused of committing lèse majesté.
Meanwhile, a military court in Bangkok deliberated, also on 27 April, the scheduling of hearings of a Royal Air Force officer, who had been charged with lèse majesté based upon a comment that he posted on his own Facebook page.
The abuse of the lèse majesté law has resulted in the spate of arrests and actions to shut down media. These are clear violations of the people's right to freedom of expression. With the impending general elections, it is more important now for a free flow of information and for critical voices to be heard.
------------------------
About SEAPA
SEAPA (http://www.seapabkk.org/) is the only regional organization with the specific mandate of promoting and protecting press freedom in Southeast Asia. It is composed of the Jakarta-based Alliance of Independent Journalists (AJI) and the Institute for Studies on the Free Flow of Information (ISAI); the Manila-based Center for Media Freedom andResponsibility (CMFR) and Philippine Center for Investigative Journalism (PCIJ); the Bangkok-based Thai Journalists Association (TJA); and the network's Kuala Lumpur-based associate member, the Centre for Independent Journalism (CIJ).
http://redusala.blogspot.com

On the Lèse Majesté Proceedings Against Somsak Jeamteerasakul


On the Lèse Majesté Proceedings Against Somsak Jeamteerasakul



I have been involved in many lèse majesté cases with different outcomes and under different circumstances. My involvement has been as a defendant, a defense witness, a publisher, and as an organizer of discussions, and as someone who has campaigned against the use of lèse majesté. On Wednesday, 11 May, when Professor Somsak Jeamteerasakul goes to hear the charges brought against him, 11 May, it will mark a turning point for lèse majesté. This is the case for the following reasons:
1.    Professor Somsak Jeamteerasakul has continuously maintained/demonstrated, even demanded, open discussion about the institution of the monarchy. He has done this until it appears that the line has moved as “far” as it can go at this moment. By making the accusations against him, the state authorities are, at the very least, dragging the “line” that Professor Somsak (and many others) have moved and return it to the place it was initially drawn before 19 September [2006].
2.    At the very least, bringing charges against Professor Somsak Jeamteerasakul will cause him to be more careful and cautious than previously (this is a rather inexpensive way for the army and the institution [of the monarchy] to do this). Even so, this is still a crossing of the line that state power had in place previously, which “allowed” some discussion on this topic as long as it was “academic” discussion by “academics.”
3.    If the case is carried to completion, this is what would happen: the police send the case to the prosecutor ---> the prosecutor sends the case to court   ---> the court of first instance rules  ---> the appeal court rules  ---> the supreme court rules. Regardless of how far this case proceeds, the effects on the esprit and determination of those who would raise the issue of the royal institution in public discussion will not be insignificant.
4.    The charge that the soldiers are going to make tomorrow seems to be along the lines of an all-embracing accusation. From my experience, when there were accusations resulting from the interview with Sulak Sivaraksa on the topic of “It is cheaper to have a monarchy than a president,” there were 19 specific points. Many of these points, if we use my standards, were very “weak.” No matter how they were interpreted, no one could be punished. But if one thinks that this is not an issue of the law, but an issue of politics, then it is not enough to only silence Professor Somsak. Others will have to be included. Because we can see what the act of officials “drawing a line,” can do, and what it cannot do.
5.    In my opinion, even though the “clever” strategy of officialdom, and especially that of the institution [of the monarchy], to cast a wide net may stop the movement in the short-term and keep them from having to adjust themselves, it will not work in the long-term. They have failed to realize that this will cause the analysis of the movement to go further underground. After this, criticism in the vein of “Reforming the Institution of the Monarchy,” such as that which Professor Somsak offers, has expanded in its effect to go “beyond the limit.” It could be said that this strategy is “naïve.”

6.    Even though this case will cause us to become even more conscious of the danger of the lèse majesté law, at the same time, we should not be unduly afraid of the law, even though tomorrow the police will reveal the content of the accusations brought against Professor Somsak Jeamteerasakul. We have to realize that this is only the accusation of royalists. This case has yet to go to the prosecutor.
Translated by Tyrell Haberkorn and Craig Reynolds.
http://redusala.blogspot.com

บิน ลาเดน ...ถึงทหารไทย!

บิน ลาเดน ...ถึงทหารไทย!
วาทตะวัน สุพรรณเภษัช
        ถึงแม้สหรัฐอเมริกา จะส่งหน่วยรบพิเศษ บุกเข้าไปสังหาร โอซามา บิน ลาเดน (Osama Bin Laden) ผู้ก่อการร้ายบันลือโลกได้สำเร็จเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว แต่ยังมีการถามไถ่กันมากว่า

        “ทำไมสหรัฐอเมริกา จึงใช้เวลานานนัก?”        

ครับ...ใช้เวลาถึง 10 ปี!      
        คำตอบที่ได้รับ อาจมีเหตุผลต่างๆมากมาย แต่จะให้คำอธิบาย เป็นที่ถูกใจหรือพอใจ ของผู้ถามหรือไม่นั้น คงจะต้องตกเป็นดุลยพินิจของผู้ถามเอง

        อย่างไรก็ตาม ที่เราเห็นกันชัดเจน คือ “ความมุ่งมั่น” ของชนชาติสหรัฐอเมริกา นั่นคือ

        เมื่อใดใครก็ตาม ที่ทำให้อเมริกันเจ็บ เสียหาย หรืออับอาย พวกเขาไม่ยอมเด็ดขาด และพร้อมจะกระโจนลงสู่สนามของการตามไล่ล่า อย่างไม่ท้อถอย จนกว่าพวกเขาจะชนะ หรือพอใจแล้วเท่านั้น!


        ตรงนี้ จะเรียกว่าเป็นสันดานของคาวบอย หรือเลือดนักสู้ของอเมริกันชน เพราะบรรพบุรุษของพวกเขา ตั้งประเทศมาได้ ก็ด้วยการต่อสู้ ฝ่าฟันโดยแท้
        บรรพบุรุษอเมริกันนั้น มุ่งมั่นบุกไปข้างหน้า ด้วยนโยบายที่รู้จักกันว่า Frontier คือ เมื่อผู้อพยพขึ้นดินแดนจากฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติคได้แล้ว บางส่วนก็มุ่งหน้าไปยังฝั่งปาซิฟิก อย่างที่เคยมีภาพยนตร์ ที่รู้จักกันในชื่อ How the West Was Won ซึ่งแสดงให้เห็นว่า

        ปู่ ย่า ตา ทวดของพวกเขา จะต้องผ่านความยากลำบาก ของเส้นทางที่ทุรกันดาร อุดมไปด้วยโรคภัยไข้เจ็บ และการต่อต้านเจ้าของถิ่น อย่างอินเดียนแดง แต่ในที่สุด

        อเมริกันชนก็สามารถเอาชนะอุปสรรคทั้งปวง และตั้งประเทศได้อย่างมั่นคง และพัฒนาประเทศ จนเจริญก้าวหน้า ขึ้นมาเป็น...        ผู้นำของโลก! 
        การใช้เวลาในการไล่ล่า เพื่อเอาคืน หรือล้างแค้น ซึ่งจบลงด้วยการสังหาร โอซามา บิน ลาเดน บิน หรือจะเรียกโดยใช้วาทกรรมงดงามว่า เป็น การทวงคืนความยุติธรรม ที่ประธานาธิบดีโอบามา ใช้คำว่า
        Justice has been done.
content/picdata/295/data/photo1.jpg
        แต่ไม่ว่าจะใช้ วลีใดก็ตาม แต่ดูเหมือนว่า การสิ้นชีพของ โอซามา บิน ลาเดน จะเป็นที่สะใจของอเมริกันชน และในขณะเดียวกัน ก็ทำให้ผู้นำอีกหลายชาติ ต่างแอบถอนใจลึกๆ ด้วยความโล่งใจ ที่ผู้ก่อการร้ายสนั่นโลกคนนี้ จบชีวิตลงเสียได้
        อย่างไรก็ตาม การไล่ล่าที่ใช้เวลายาวนานอย่างนี้ ไม่ได้เกิดกับสหรัฐอเมริกา แต่เพียงชาติเดียวเท่านั้น เพราะปฏิบัติการของชนชาติอิสราเอล ในการตามล่าผู้ก่อการร้ายกลุ่ม ‘Black September’ ก็ห้าวหาญ และใช้เวลานาน ไม่แพ้กันเท่าใดนัก

        วันนี้ เลยอยากนำปฏิบัติการไล่ล่า ที่ผ่านมาผ่านมา เกือบ
40 ปี แล้ว ฉายย้อนให้ท่านผู้อ่านได้เห็นกันอีกครั้ง

        มื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1972 ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี กลุ่มผู้ก่อการร้ายชาวปาเลสไตน์ ที่ชื่อว่า ‘Black September’ ได้แฝงตัวเข้าไปในหมู่บ้านนักกีฬา พวกวายร้ายได้จับนักกีฬาอิสราเอล 11 คนเป็นตัวประกัน ท่ามกลางสายตาสื่อมวลชนจากทั่วโลก

        ผู้ก่อการร้ายกลุ่มนี้ เรียกร้องให้ปล่อยนักโทษ 250 คนเพื่อแลกกับชีวิตนักกีฬา หลังจากนั้นไม่กี่ชั่วโมง ตำรวจเยอรมนีตัดสินใจลงมือช่วยเหลือตัวประกัน แต่เกิดความผิดพลาดอย่างฉกรรจ์ กลุ่ม Black September รู้ทัน เลยหันไปถล่มตัวประกัน นักกีฬาอิสราเอลถูกฆ่าตายเกลี้ยง

        เรื่องนี้...ช็อคโลก! 
        ความโศกเศร้าเสียใจ ครอบคลุมชาวอิสราเอลไม่นาน พวกเขาได้แปรเปลี่ยนมัน ให้เป็นความโกรธเกรี้ยวอย่างรุนแรง และเพียงไม่กี่ชั่วโมงหลังจากนั้น นายกรัฐมนตรีหญิง โกลด้า แมร์ (Golda Meir) ตอบโต้แบบฉับพลันทันที ด้วยการโจมตีทางอากาศ ถล่มค่ายผู้ลี้ภัยชาวปาเลสไตน์แหลกลาญ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 200 คน

        ยิ่งไปกว่านั้น คุณย่าโกลด้า แมร์ ยังสั่งการตรงไปหน่วยปฏิบัติการลับของอิสราเอล ที่รู้จักกันในชื่อ มอสสาด (MOSSAD) จัดส่งมือสังหารไปทั่วยุโรป และตะวันออกกลาง โดยมีภารกิจในการสืบค้นและจัดการกับกลุ่มผู้ต้องสงสัย ที่พัวพันกับการสังหารหมู่ที่มิวนิก

        ภารกิจมรณะนั้น รู้จักกันในนาม  Operation Wrath Of God (ปฏิบัติการพระเจ้าพิโรธ) ครั้งนี้ ผู้บริหารระดับสูงของมอสสาดเอง ก็ไม่เคยปริปาก หรือแพร่งพรายให้สาธารณชน ได้รับรู้เรื่องปฏิบัติการนี้แต่อย่างใดเลย

        (บ้านเราน่าจะเอาเป็นตัวอย่าง เพราะนักการเมืองและข้าราชการ ล้วนแล้วแต่คุยโตโอ้อวดเกินเหตุ ทั้งๆที่ปฏิบัติงานยังไม่สำเร็จ แต่คุยจนฝ่ายตรงข้ามเขารู้ และตั้งรับได้ทัน!)


        สายลับ มอสสาด รู้จัก Black September ดีว่าเป็นกลุ่มลับ ที่แยกตัวออกมาจาก องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (พีแอลโอ) และบรรดาสมาชิกในองค์การแห่งนี้ ก็ต่อสู้กับอิสราเอลมานานหลายทศวรรษ

        มอสสาดใช้ความพากเพียร ในการสืบค้นรายชื่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการสังหารหมู่ที่มิวนิก และในที่สุดก็ได้รายชื่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องถึง 26 คน

        หน่วยสืบราชการลับของอิสราเอล ได้ตามล่าคนเหล่านี้ ไปยังดินแดนต่างๆ ทั้งในยุโรปและตะวันออกกลาง อย่างทรหดอดทน และในที่สุดก็ตามสังหารคนเหล่านี้ได้หมด เหลือหัวหน้าคนสำคัญชื่อ

        Ali Hassan Salameh (อาลี ฮัสซัน ซาลาเมห์)


        เมื่อ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1974 สองปีหลังจากการสังหารหมู่ที่มิวนิก นายยัสเซอร์ อาราฟัตผู้นำปาเลสไตน์ และทีมงานของเขา ที่ได้รับเชิญไปยังสหประชาชาติ และสิ่งทำให้หน่วยสืบราชการลับมอสสาด ถึงกับตกตะลึงพรึงเพริด เพราะบุคคลที่ยืนอยู่เคียงข้างกับนายอาราฟัตนั้น ก็คือ

        อาลี ฮัสซัน ซาลาเมห์!         การปรากฏกายของฆาตกรอย่าง ‘ซาลาเมห์’ เสมือนเป็นการตบหน้าเจ้าหน้าที่มอสสาด ซึ่งกำลังเฝ้าดูทางโทรทัศน์...

        ฉาดใหญ่!!        มอสสาด ออกปฏิบัติการจองเวร ด้วยการตามไล่ล่า อาลี ฮัสซัน ซาลาเมห์ อย่างเอาเป็นเอาตาย แต่ก็ไม่ปรากฏวี่แววของคนที่ฝ่ายอิสราเอล ต้องการตัวอย่างยิ่ง

        เขาเงียบหายไป...นานถึงห้าปี


        แต่แล้ว...พระเจ้าก็เข้าข้างฝ่ายผู้ไล่ล่า เพราะในเดือนมกราคม ค.ศ. 1979 สายลับของอิสราเอล ก็พบว่า…

        ซาลาเมห์ อยู่ในเมืองเบรุต
        และแล้ว...วันตายของผู้ก่อการร้ายปาเลสไตน์ตัวกลั่น  ก็มาถึงจนได้ เพราะเมื่อ 22 มกราคม ค.ศ. 1979 รถของซาลาเมห์และองครักษ์ ถูกระเบิด ขณะกำลังแล่นผ่านจุดสังหาร ทำให้หน่วยสืบราชการลับอิสราเอล สามารถปิดตำนาน ‘การสังหารหมู่ ในมหกรรมกีฬาโอลิมปิก’ ลงได้อย่างสมบูรณ์แบบ

        พวกเขาล้างแค้น ได้สำเร็จแล้ว!!!


        ปฏิบัติการของชาติใหญ่อย่างสหรัฐ ที่รู้สึกเจ็บปวด จากการโจมตีของผู้ก่อการร้าย อัลกออิดะห์ (Al- Qaeda) ในเหตุการณ์ 9/11 หรือชาติที่ไม่ใหญ่ไม่โต แต่มีหัวใจแห่งการต่อสู้อย่างอิสราเอล ในกรณีการสังหารหมู่ในกีฬาโอลิมปิก สิ่งที่ทั้งสองชาติมีสิ่งที่เหมือนกัน นั่นคือ

        ความมุ่งมั่น...ที่จะจัดการ กับผู้ก่อการร้าย!


        ท่านผู้อ่าน ที่เคารพ
        ทราบกันบ้างไหมครับว่า ประเทศไทยเรานั้น เคยได้รับคำชมเชยจากชาวโลก เมื่อคนร้ายปาเลสไตน์กลุ่ม Black September ได้เข้ายึดสถานทูตอิสราเอล เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2515 (ปีเดียวกัน กับเหตุการณ์ที่มิวนิก)

        รัฐบาลไทยในขณะนั้น สามารถแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างเรียบร้อย โดยไม่เสียเลือดเนื้อ ซึ่งชาวโลกได้ยกย่อง และได้แนะนำ ชาติที่ประสบปัญหาแบบเดียวกัน คือ

        เมื่อชาติใดมีสถานการณ์ตัวประกัน ให้ดูการแก้ไขปัญหาของประเทศไทย ไว้เป็นตัวอย่าง ที่รู้จักกันในชื่อ         Bangkok Solution!         หมายถึงการไม่เสียเลือดเนื้อ ในกรณีที่มีการจับกุมตัวประกัน โดยนำผลสำเร็จแบบ “กรุงเทพ” เป็นเป้าหมายสำคัญ!! 


        มาถึงยุคนี้ ผมอยากให้พวกเรา หันมาดูการก่อการร้ายที่เกิดขึ้นต่อเนื่อง ในเขตสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของเราบ้าง ซึ่งเราได้มีปฏิบัติการปราบปราม ติดต่อมายาวนานหลายปี แต่ผมเองกลับมีความรู้สึก ว่า

        ความมุ่งมั่นของพวกเรา...มีน้อยไป!        ปฏิบัติการของ “ผู้ก่อการร้าย” แท้ๆ พวกเรายังบิดเบือน เรียกให้ฟังนุ่มนิ่ม เป็นเพียง...

        “ผู้ก่อความไม่สงบ!”        พวกเรา ‘ขี้ขลาด’ ไปหรือเปล่า!?


        การปราบปรามผู้ก่อการร้าย ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ดำเนินการมาจนกระทั่งบัดนี้ ทางการของเรายังไม่รู้ว่า

        หัวหน้าผู้ก่อการร้ายนั้น...คือใคร?

        อยู่ที่ไหนกันแน่?
        นอกจากนั้น ปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่งอีกเรื่องหนึ่ง คือ เรายังไม่รู้ว่า มันเป็นการก่อการร้าย โดยมีวัตถุประสงค์...

        เพื่อการ “แยกดินแดน” จริงหรือไม่?


        เวลานี้ ปฏิบัติการที่ภาคใต้ ซึ่งกระทำมานานหลายปีแล้ว และได้ผลาญงบประมาณของชาติไปแล้ว นับแสนล้านบาท แต่กลับดูเหมือนว่า

        ปฏิบัติการก่อการร้าย ของกลุ่มหัวรุนแรง ยังคงดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สามารถช่วงชิงความริเริ่มในปฏิบัติการ ทำให้รัฐต้องเป็นฝ่ายคอยตามแก้ และที่สำคัญ นั้น...

        เวลานี้ ภาพชักจะชัดเจนขึ้นมาทุกทีแล้วว่า เรื่องของ
“การแยกดินแดน” น้ำหนักชักจะน้อยลงไปทุกที แต่การค้ายาเสพติด และการแสวงหาผลประโยชน์โดยทุจริต จากการดำเนิน “ธุรกิจมืด” ต่างหาก คือ

        ต้นตอ...ปัญหาที่แท้จริง!
        นการเข้าต่อตีกับผู้ก่อการร้าย อิสราเอลได้คิดยุทธวิธี และเทคนิคใหม่ๆ รวมทั้งการลอบสังหาร ขึ้นมาใช้ ใน Operation Wrath Of God หรือปฏิบัติการพระจ้าพิโรธ แต่บ้านเรายังคงใช้ยุทธวิธีเดิมๆ ในการแก้ไขปัญหา จนมีผู้คนพูดกันว่า

        ฝ่ายทหารที่ควบคุมปฏิบัติการ มุ่งที่จะ “เลี้ยงไข้” การก่อการร้าย เพียงเพื่อผลประโยชน์ทางงบประมาณ

        ใช่หรือเปล่า?
        หรือทางฝ่ายทหาร ที่ได้รับมอบอำนาจ ให้จัดการเรื่องนี้ ขาดความสามารถจริงๆ?        อะไรกันแน่?


        หันไปดู การสู้รบทางด้านเขมรกันบ้าง ตอนนี้ผู้คนก็วิพากษ์วิจารณ์ว่า ไทยเราไม่มี “ความมุ่งมั่น” ที่จะเอาชนะศึก ยิงกันไปก็ยิงกันมา และดูเหมือนว่า จะเป็นรองเขมรในเวทีระหว่างประเทศในทุกๆด้าน

        ที่ย่ำแย่มาก ก็คือ

        การอพยพผู้คน จากถิ่นฐานบ้านช่องเพื่อหนีตายจากภัยสงคราม อย่างที่ผมเล่าให้ฟังในคอลัมน์ก่อนหน้านี้ สร้างความเดือดร้อนลำบากให้กับราษฎรเป็นอย่างยิ่ง        ในการรบติดพัน ที่ผ่านมาร่วมครึ่งเดือนนั้น ผู้คนที่เดือดร้อนมาก กลายเป็นพี่น้องประชาชนคนไทยนับแสน บริเวณชายแดน!        เป็นเรื่องที่น่าแปลก ที่ผู้นำทหารของเรา กลับไม่ไปปรากฏกาย ให้ผู้คนบริเวณชายแดนได้เห็น แม้เพียงเพื่อเป็นขวัญกำลังใจให้กับทหารในบังคับบัญชา ผู้คนก็นินทาว่า
        “อย่ามัวแต่คุยฟุ้งว่าไม่กลัวเขมร แล้วทำตาเหล่ตาเหลือก พูดจาข่มขู่ผู้คน อยู่แต่ในกรุงเทพฯเลยวะ ไม่มีใครเขากลัวเอ็งหรอก โน่น...ออกไปหน้าแนว ให้ผู้คนเขาเห็น บ้างซิโว้ยยยยยย!”         คนไทยใจร้อน ก็ ‘ปากไว’ อย่างนี้แหละ!!


        น่าสังเกตว่า

        ผู้คนที่อยู่แนวหลัง ก็ไม่สนใจกับการสู้รบชายแดน ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะทหารได้ก่อกรรมทำเข็ญ ด้วยการฆ่าคนไทยด้วยกันเป็นจำนวนมากเมื่อไม่นานมานี้ เพียงเพื่อช่วยให้รัฐบาลโลซกของนายมาร์ค มุกควาย อยู่ในอำนาจต่อไปได้เท่านั้น

        ดังนั้น นอกจากเรายังไม่สามารถ เอาชนะประเทศเล็กๆ และยากจน อย่างเขมรได้แล้ว ยังมีเรื่องน่าอายอีกก็คือ

        เขมรชิงประกาศ “ชัยชนะ” ไทย ล่วงหน้าไปแล้ว!


        ยิ่งไปกว่านั้น ผู้บังคับบัญชาทหาร ยังถูกวิพากษ์วิจารณ์เสียหาย เพราะทหารในแนวหน้าเขาส่งเสียงเรียกร้อง ถึงความขาดแคลนในด้านต่างๆ เช่น อาหาร และยา ซึ่งผมได้ยินคุณวาสนา นาน่วม ผู้สื่อข่าวสายทหาร บอกว่า

        ทหารในแนวหน้าต้องการ ยาแก้คัน ผ้าผวยห่มนอน เพราะอากาศหนาว และต้องการอาหารสำเร็จรูป เนื่องจากทหารสองฝ่าย เผชิญหน้ากันในระยะใกล้ ไม่สามารถก่อไฟ หุงหาอาหารตามปกติได้ เพราะจะเป็นการเปิดเผยตำแหน่ง ให้ทหารเขมรรู้ที่ตั้ง และโดนบุกเข้าโจมตีได้ง่าย         มันเป็นไปได้ อย่างไรกัน!


        เรื่องความขาดแคลนของทหาร ผมไม่อยากได้ยินเลย เพราะเป็นเรื่องทำลายขวัญกำลังใจ ของผู้อยู่หน้าแนวรบ และฝ่ายทหารเองก็มีงบประมาณมากมาย เพียงพอที่จะจัดแจงเสบียงกรัง เพื่อทหารแนวหน้าได้อย่างสมบูรณ์ โดยไม่ต้องให้ผู้สื่อข่าว อย่างคุณวาสนาฯ ออกมาร้องขอความอนุเคราะห์จากชาวบ้าน (ซึ่งพวกเขาก็ไม่ค่อยจะชอบขี้หน้าทหารอยู่แล้ว) ให้ช่วยส่งสิ่งของที่ขาดแคลน ให้กับทหารแนวหน้า

        ผู้บังคับบัญชาทหาร ควรใส่ใจลูกน้องของตัว มากกว่านี้!        หวังว่า จะปรับปรุงเรื่องที่บกพร่องให้ดีขึ้น จะได้ไม่ต้องถูกนินทากล่าวหาว่า กองทัพของเรา เป็น

        “กองทัพขอทาน”


        มีเรื่องที่อยากจะขอร้องอย่างจริงจัง ไปยังทหารตัวนายว่า ระหว่างที่บ้านเรา ยังมีการศึกติดพัน ขอให้ท่านทั้งหลาย จงงดการเล่นกอล์ฟเอาไว้สักพัก เอาไว้หมดศึกเสือเหนือใต้แล้ว ค่อยเล่นกันใหม่ เพราะมันดูไม่ดีเลย

        ลูกน้องไปรบ...ตัวนายเพลิดเพลินอยู่ในสนามกอล์ฟ!        ทุเรศว่ะ!!
        นอกจากนั้น เรื่องความฟุ่มเฟือยต่างๆในกองทัพ เช่นการจัดงานราตรีหรูหรา แต่งทักซีโดฉุยฉาย อวดเหรียญตรากัน ในขณะที่ประชาชนกำลังลำบาก ในเรื่องค่าครองชีพ และมีสงครามติดพัน 


        ก็ไม่เป็นสิ่งที่ควรทำ!


        ฉลองกันพอสมควรแก่เหตุ นิดๆหน่อยพอเป็นพิธีก็ดีแล้ว พอเห็นภาพความฟุ้งเฟ้ออย่างนี้ หลุดออกมาทางสื่อ เลยมีการแซวกันเจ็บๆว่า
content/picdata/295/data/photo3.jpg

        “แต่งทักซีโด กินเลี้ยงกันหรูหรา ฉลอง F16 หลบ ป.ต.อ.เขมร แล้วชนกันตก ทีเดียว 2 ลำ หรือไงวะ!?”          นอกจากนั้น สถานการณ์ศึกใต้ยังพันตูกันอยู่ ทางด้านชายแดนตะวันออก ทหารไทยก็ยังจัดการกับเขมรไม่สำเร็จ เหตุการณ์ก็ลุกลามบานปลาย ชาวบ้าน ก็ยังหวาดผวา วิ่งหลบกระสุน หลบระเบิด นอนในหลุม กินในท่อ เพราะฝ่ายเขมรมันถล่มเอาไม่ขาดสาย อีกทั้งการพิทักษ์พื้นที่ส่วนหลัง ดูโดยรวมแล้ว ก็ยังขาดประสิทธิภาพเป็นอย่างยิ่ง        ดังนั้น การที่พวกท่านยังมาแสดงความฟู่แฟ่ฟุ่มเฟือย ให้ผู้คนที่เขากำลังเดือดร้อนได้เห็น มันทำลายความรู้สึกของชาวบ้าน เพราะเหมือนกับการเยาะเย้ยกัน...


        ...พี่น้องประชาชน...เขาจะสาปแช่งเอานะโว้ย!! 


........................
ท้ายบท รบกันมาจะครึ่งเดือน ทหารไทยตายไปนับสิบ เจ็บอีกร้อย กับอีกหลายสิบ พี่น้องประชาชนกินนอนกัน อยู่ในท่ออย่างที่เห็น

content/picdata/295/data/photo2.jpg
        ลองเปรียบเทียบกับ ภาพงานเลี้ยงหรูข้างบน ได้อารมณ์ดีชะมัดเลย

        ยังมีกะใจ ฟุ่มเฟือยฟู่ฟ่ากันอีก ให้มันรู้ไป!!!


        (***บทความประจำสัปดาห์ ตอน บิน ลาเดน ...ถึงทหารไทย! ออนไลน์ วันเสาร์ ที่ 7 พฤษภาคม 2554)
http://redusala.blogspot.com

แจ้งดำเนินคดีประธานศาลรธน.ยุบพรรคมิชอบ


       เรื่องจากปก
         จากหนังสือพิมพ์ โลกวันนี้
         ปีที่ 12 ฉบับที่ 3050 ประจำวัน อังคาร ที่ 10 พฤษภาคม 2011
         ประธานชมรมกฎหมายภิวัฒน์ฯเข้าแจ้งความเอาผิดประธานศาลรัฐธรรมนูญและพวก ฐานเป็นเจ้าพนักงานตุลาการเรียกรับประโยชน์อื่นใด เพื่อกระทำการหรือไม่กระทำการในตำแหน่ง จากกรณีตัดสินยุบพรรคพลังประชาชน ชาติไทย และมัชฌิมาธิปไตย ตำรวจไม่รับแจ้งความ อ้างไม่อยู่ในอำนาจรับผิดชอบ ส่งต่อ ป.ป.ช. พิจารณา

วันที่ 9 พ.ค. 2554 นายพิชา วิจิตรศิลป์ ประธานชมรมกฎหมายภิวัฒน์แห่งประเทศไทย เข้าแจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนกองบังคับการปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ (บก.ป.ป.ป.) ให้เอาผิดนายชัช ชลวร ประธานศาลรัฐธรรมนูญ กับพวก ในความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานตุลาการเรียกรับประโยชน์อื่นใด เพื่อกระทำการหรือไม่กระทำการในตำแหน่งตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 201 จากกรณีวินิจฉัยยุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย โดยนำหลักฐานการปราศรัยของนายจตุพร พรหมพันธุ์ แกนนำคนเสื้อแดง ที่เปิดเผยข้อมูลในจดหมายของ น.ส.ชุติมา แสนสินธ์รังษี อดีตเจ้าหน้าที่ระดับ 3 ศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีเนื้อหาพาดพิงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญปฏิบัติหน้าที่มิชอบ

อย่างไรก็ตาม พนักงานสอบสวน บก.ป.ป.ป. แจ้งว่าคดีไม่อยู่ในอำนาจพิจารณา แต่จะนำพยานหลักฐานส่งต่อให้คณะกรรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) พิจารณาต่อไป

********************************
http://redusala.blogspot.com